ค้นหาบล็อกนี้

วันศุกร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556

กล้องจุลทรรศน์แบบอิเล็กตรอน

กล้องจุลทรรศน์แบบอิเล็กตรอน

            หลายคนรู้จักกล้องจุลทรรศน์แต่ไม่รู้ว่ากล้องจุลทรรศน์นั้นมีแบบไหนบ้าง แต่เท่าที่เคยเป็นและได้ใช้บ่อยมากที่สุดก็คงจะเป็นกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง แต่กล้องจุลทรรศน์ที่นักวิทยาศาสตร์ทั้งหลายนิยมนำมาใช้กันนั้นก็คือ กล้องจุลทรรศน์แบบอิเล็กตรอนที่มีคุณสมบัติขยายเซล์ลหรือชิ้นส่วนต่างๆ ที่เราต้องการทดสอบได้ถึงขนาด 200,000 ถึง 500,000 เท่าเลย เนื่องจากกล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอนนี้ใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าแทนเลนส์ในการส่อง จึงทำให้เห็นภาพที่ส่องในกล้องนี้ได้ 2 ถึง 3 มิติกันทีเดียว ซึ่งกล้องจุลทรรศน์นี้จะมีราคาที่ค่อนข้างแพงมาก และวิธีการใช้งานนั้นก็ค่อนข้างสลับซับซ้อน แต่ภาพที่ได้นั้นค่อนข้างละเอียดมากกว่า จึงไม่แปลกว่าทำไมนักวิทยาศาสตร์ทั้งหลายหรือสถาบันวิจัยชั้นนำนั้นจำเป็นต้องใช้กล้องจุลทรรศน์แบบอิเล็กตรอนนี้ในการวิจัยงานททั้งหลายเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะเซล์ลของสิ่งมีชีวิตนั้นค่อนข้างมีเยอะและเล็กขึ้น ซึ่งนักวิชาการทั้งหลายอาจต้องเช็คหรือวิเคราะห์เชลล์ต่างๆ อย่างละเอียดเพื่อหาข้อข้องใจได้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น